รองศาสตราจารย์ฤทธิรงค์ จิวากานนท์. งานออกแบบละครเวทีเรื่อง “เวนิสวาณิช” คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2561)
________. งานออกแบบมิวสิคัลเรื่อง “ซ้อน A New Musical” เอ็มเธียเตอร์ กรุงเทพฯ (2561)
________. งานออกแบบละครเวทีเรื่อง “ราตรีที่สิบสอง” เอ็มเธียเตอร์ กรุงเทพฯ (2560)
________. งานออกแบบละครเวทีเรื่อง “หลายชีวิต” คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2560)
________. งานออกแบบมิวสิคัลเรื่อง “มอม” เอ็มเธียเตอร์ กรุงเทพฯ (2559)
________. งานออกแบบการแสดงดนตรี “VN Melody” เมือง Bai Dinh Temple ประเทศเวียตนาม
________. งานออกแบบละครเวทีเรื่อง “ART” คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2558)
________. งานออแบบการแสดงแสงสีเสียง “พระมหาชนก” สวนเบญจกิติติ์ กรุงเทพฯ (2557)
________. งานออกแบบละครซีรี่ย์โทรทัศน์เรื่อง “พล นิกร กิมหงวน เดอะ มิวสิคัล” True Vision (2557)
จารุณี หงส์จารุ. อำนวยเพลง “J.S.Bach’s Coffee Cantata” 21 สิงหาคม 2535 หอประชุมสถาบันเกอเธ่ แถบบันทึกเสียง 30 นาที เอกสารคำอธิบายทางวิชาการประกอบ สูจิบัตร 1 ฉบับ
________. อำนวยเพลง “Madrigal & Motet” 9 กันยายน 2537 หอประชุมสถาบันเกอเธ่ วีดิทัศน์ 60 นาที เอกสารคำอธิบายทางวิชาการประกอบ สูจิบัตร 1 เล่ม
________. อำนวยเพลง “Handel’s Messiah” 8 ธันวาคม 2540 โบสถ์มหาไถ่ วีดิทัศน์ 130 นาที เอกสารคำอธิบายทางวิชาการประกอบ สูจิบัตร 1 เล่ม
________. อำนวยเพลงขับร้องประสานเสียง (Choral Conductor) “พิธีเปิดและปิดการแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ครั้งที่ 13” 6 ธันวาคม 2541 สนามราชมังคลากีฬาสถาน วีดิทัศน์ 180 นาที เอกสารคำอธิบายทางวิชาการประกอบ สูจิบัตร 1 เล่ม
________. อำนวยการขับร้องประสานเสียง (Choral Director) และฝึกซ้อมนักร้องประสานเสียง (Chorus Master) “Choral Music Performed in the Opening & Closing Ceremonies 13th Asian Games”. 6 & 20 ธันวาคม 2541 สนามราชมังคลากีฬาสถาน, เอกสารคำอธิบายทางวิชาการประกอบ แผ่นซีดี 74 นาที
________. ฝึกซ้อมนักร้องประสานเสียง “เพลง Asian Games March”. 17 ตุลาคม 2541, หอประชุมเล็ก ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เอกสารอธิบายทางวิชาการประกอบ
________. อำนวยเพลงการแสดงคอนเสิร์ตปี “ปีติมหาการุญ”. สนามกีฬากลางแจ้งศูนย์กีฬามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ 9 มกราคม 2543. ถ่ายทอดสด สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 วีดิทัศน์ 105 นาที เอกสารอธิบายทางวิชาการประกอบ สูจิบัตร 1 เล่ม หนังสืองานปี “ปีติมหาการุญ” 1 เล่ม, 97-129
________. กำกับการแสดง กำกับดนตรีและฝึกเสียง โอเปราภาษาไทย “อามาห์ลกับอาคันตุกะ ยามวิกาล”. โรงละครอักษรศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ 16 รอบ วันที่ 19 – 22 ธันวาคม 2543 3-6 และ 15 – 20 มกราคม 2544. วีดิทัศน์ 100 นาที เอกสารอธิบายทางวิชาการประกอบ สูจิบัตร 1 เล่ม
________. อำนวยเพลงและเรียบเรียงเสียงประสาน “มหกรรมเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว”. จัดโดยสำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี วันที่ 3 ธันวาคม 2544 วีดิทัศน์ 120 นาที เอกสารอธิบายทางวิชาการประกอบ สูจิบัตร 1 เล่ม
________. อำนวยการดนตรีและอำนวยเพลง “Handel’s Messiah (Complete)”. อาสนวิหารอัสสัมชัญ วันที่ 6 ธันวาคม 2546. ดีวีดี 2 แผ่น 147 นาที เอกสารอธิบายทางวิชาการประกอบ สูจิบัตร 1 เล่ม
________. อำนวยเพลง “Bizet’s Carmen (No.11-15)”. Plovdiv Opera and Philharmonic Society Opera House ประเทศบัลกาเรีย วันที่ 20 กรกฎาคม 2546. วีดิทัศน์ 25 นาที เอกสารอธิบายทางวิชาการประกอบ สูจิบัตร 1 เล่ม
________. อำนวยการดนตรีและอำนวยเพลง คอนเสิร์ตมิตรภาพไทย-ญี่ปุ่น (Thai-Japanese Friendship Concert.) หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย วันที่ 19 ตุลาคม 2550. แผ่นดีวีดี 1 แผ่น 180 นาที เอกสารอธิบายทางวิชาการประกอบ 1 เล่ม สูจิบัตร 1 เล่ม แผ่นซีดีเพลงพฤกษาราชา 1 แผ่น
________. อำนวยเพลง Festkantate ประพันธ์โดย Heinrich Schweizer. แผ่นซีดี KantateII II und Festkantate. ปีที่เผยแพร่ พ.ศ.2553. ประเทศสวิซเซอร์แลนด์ แผ่นซีดี 1 แผ่น แผ่นดีวีดี 1 แผ่น สูจิบัตร 1 เล่ม เอกสารอธิบายทางวิชาการประกอบ
________. ประพันธ์เพลง เรียบเรียงดุริยบท และ กำกับดนตรี ในละครเพลงเรื่อง “ธีรราชา” รัชดาลัยเธียเตอร์, พฤกษภาคม 2559.
________. ประพันธ์เพลง ฝึกเสียง และ กำกับดนตรี ในละครเพลงเรื่อง “สยามมิสฉัน” ศูนย์ศิลปการละครสดใส พันธุมโกมล, 2555.
________. อำนวยการดนตรีและประพันธ์เพลง ในละครเพลง “ดอกไม้แห่งสยาม” โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย กรุงเทพฯ : สมาคมศิษย์เก่าวังหลัง-วัฒนา, วันที่ 27-28 มกราคม 2555. แผ่นดีวีดี 1 แผ่น แผ่นซีดี 1 เพลง เอกสารประกอบทางวิชาการ สูจิบัตร 1 เล่ม
________. อำนวยการดนตรีและอำนวยเพลง งานกัลยาณิคารวาลัย. หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ หอประชุมกรมประชาสัมพันธ์ วันที่ 23 และ 25 ตุลาคม 2551 ตามลำดับ แผ่นดีวีดี 1 แผ่น 120 นาที เอกสารประกอบทางวิชาการ สูจิบัตร 1 เล่ม
________. อำนวยการดนตรีและประพันธ์ดนตรี ละครวิทยุพระราชนิพนธ์แปลในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เรื่อง “ปลวก”. 2549. แผ่นซีดี 1 แผ่น 90 นาที เอกสารประกอบทางวิชาการ เอกสารประกอบในแผ่นซีดี
________. ฝึกเสียงนักแสดง ละครเรื่อง แมคเบธ. ศูนย์ศิลปการละครสดใส พันธุมโกมล คณะอักษรศาสตร์ สิงหาคม 2554. แผ่นดีวีดี 2 แผ่น เอกสารประกอบทางวิชาการ สูจิบัตร 1 เล่ม
________. อำนวยการแสดง ประพันธ์ดนตรีและฝึกเสียง การแสดงเรื่อง 0110. ณ LASSALLE College of the Arts. มิถุนายน 2558. แผ่นดีวีดี 1 แผ่น เอกสารประกอบทางวิชาการ สูจิบัตร 1 เล่ม
________. กำกับการขับร้องและฝึกเสียงนักแสดง ละครเรื่อง กำกับการแสดงโดย Pascal. ศูนย์ศิลปการละครสดใส พันธุมโกมล แผ่นดีวีดี 1 แผ่น เอกสารประกอบทางวิชาการ.
________. ประพันธ์ดนตรีและฝึกเสียง โครงการไตรภาคีทางศิลปการละครร่วมกับ Hong Kong Academy of Performing Arts และ LASSALLE College of the Arts ศูนย์ศิลปการละครสดใส พันธุมโกมล และการประชุมนานาชาติทางการละคร ครั้งที่ 9 ประเทศอินเดีย เดือนมิถุนายนและเดือนตุลาคม 2559. ดีวีดี 1 แผ่น เอกสารประกอบทางวิชาการ สูจิบัตร 1 เล่ม
________. ประพันธ์ดนตรีและฝึกเสียง ละครเรื่อง วิวาห์หรือวิวาท และ นายหมีปากร้ายกับคุณนายปากแข็ง. ศูนย์ศิลปการละครสดใส พันธุมโกมล 8 -18 พฤศจิกายน 2561 เอกสารประกอบทางวิชาการ สูจิบัตร 1 เล่ม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริดา มโนมัยพิบูลย์. บทละครเรื่อง “หลายชีวิต” จัดแสดง ณ ศูนย์ศิลปการละครสดใส พันธุมโกมล (2560) ซึ่งได้รับรางวัลคึกฤทธิ์ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี 2560 จากมูลนิธิคึกฤทธิ์80 ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
________. บทละครเพลงเรื่อง “ธีรราชา” จัดแสดง ณ รัชดาลัยเธียเตอร์ (2559)
________. บทละครเรื่อง “Shakespeare’s in Thailand” จัดแสดงใน Theatre School Conference and Festival โดย Asia Pacific Bureau ที่เมืองเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน (2557)
________. บทละครเรื่อง “นางร้ายในลงกา The New Episode” จัดแสดง ณ ศูนย์ศิลปการละครสดใส พันธุมโกมล (2557)
________. บทวิเคราะห์ “การพัฒนาบทละครจากงานวิจัยสร้างสรรค์โดยใช้โครงสร้างของละครซ้อนละคร” ตีพิมพ์เผยแพร่ในสูจิบัติละคร นางร้ายในลงกา ภาควิชาศิลปการละคร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2557)
________. บทละครเรื่อง “Bitches of Lanka” จัดแสดงใน Theatre School Conference and Festival โดย Asia Pacific Bureau ที่กรุงโฮจิมินห์ ประเทศเวียดนาม (2556)
________. บทละครเรื่อง “ฉุยฉายเสน่หา” (2556) ได้รับรางวัลบทละครดั้งเดิมยอดเยี่ยมจากชมรมวิจารณ์ศิลปะการแสดง
________. บทละครเรื่อง “Femmes Fatale of Lanka” นำเสนอการอ่านบทในการจัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติและเทศกาลละครร่วมสมัยไทย-อาเซียน “Thai/ASEAN Contemporary Theatre : Our Roots Right Now” ภาควิชาศิลปการละคร คณะอักษรศาสตร์ ร่วมกับสถาบันอาเซียนศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม (2556)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดังกมล ณ ป้อมเพชร. (2561). งานสร้างบทละครและกำกับการแสดง “เวนิสวาณิช” ละครประจำภาคปลาย ปีการศึกษา 2560 ภาควิชาศิลปการละคร คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 8 – 18 กุมภาพันธ์ 2561 ศูนย์ศิลปการละครสดใส พันธุมโกมล คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. https://facebook.com/TheMerchantofVeniceDramaArtsChula/
________. (2560). “จักรวาลมีดาวแสนล้านดวงและเราเป็นมนุษย์คนหนึ่ง.” (บทโดย ฌาณิศา ภูวภิรมย์ขวัญ) 31 มีนาคม – 2 เมษายน และ 7 – 9 เมษายน 2560. Creative Industries @M.Theater . https://thematter.co/rave/universe-within/21019
________. (2558). ละครเรื่อง “วัยรุ่น ไวรัส วัยเลิฟ” (จาก The Inner Circle ของ Patricia Loughrey) สร้างบทภาษาไทย และกำกับการแสดง. ละครเผยแพร่ผลงานวิจัยหัวข้อ “วัยรุ่นกับเพศ” ในโครงการเวทีวิจัยจุฬาฯพัฒนาสังคม คลัสเตอร์วิจัย: พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สถาบันวิจัยสังคม 12 มีนาคม 2558 ศูนย์ศิลปการละครสดใส พันธุมโกมล คณะอักษร ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. https://waymagazine.org/youthtalk/
________. (2557). ละครเพลงเรื่อง “Hedwig and the Angry Inch” (John Cameron Mitchell และ Stephen Trask) The Walrus Theater RCA/Mongkol Studio กำกับการแสดง. 12-14, 19-21, 21-28 มิถุนายน 2557. ที่ RCA/Mongkol Studio https://m.facebook.com/HedwigThai
________. (2556). ละครคอมเมเดียเดลาเต เรื่อง “ตลกยกกำลังเอ๋อ” (The Game of Errors จาก The Comedy of Errors ของ William Shakespeare) สร้างบท ภาษาไทยและกำกับการแสดงร่วมกับ Marco Luly นำเสนอในเทศกาล ศิลปะการแสดงนานาชาติ (World Performance @ Arts, Chula) 13 – 14 ธันวาคม 2556 ศูนย์ศิลปการละครสดใส พันธุมโกมล คณะอักษร ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
________. (2555). ละครเรื่อง “ราพณาสูร” สกว./คณะอักษรศาสตร์. สร้างบทและกำกับการ อ่านบท. นำเสนอวันที่ 14-17 พฤศจิกายน 2555 ในงานจุฬาฯวิชาการ ’55 ณ ศูนย์ศิลปการละครสดใส พันธุมโกมล และเมื่อวันที่ 19 มกราคม 2556 ในงานเวทีวิจัยและเทศกาลละครร่วมสมัยไทย/อาเซียน Our Roots Right Now คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
________. (2555). ละครเพลงเรื่อง “สยามมิสฉัน เดอะมิวสิเคิล” กำกับการแสดงและร่วม สร้างบท. 29 สิงหาคม – 9 กันยายน 2555 ศูนย์ศิลปการละครสดใส พันธุมโกมล คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. https://education.kapook.com/view45353.html
________. ละครเรื่อง “นางฟ้านิรนาม” (จาก Cocktail ของ Ping Chong และ Vince LiCata) แปล-แปลงบทและ กำกับการแสดง หอศิลปวัฒนธรรมแห่ง กรุงเทพมหานคร ๒๕๕๒. https://www.thaihealth.or.th/node/10552
________. (2550). ละครเรื่อง “สัต(ว์)บุรุษสุดขอบโลก” (จาก Valzlav ของ Slawomir Mrozek) แปล-แปลงบทและกำกับการแสดง สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 2550. http://www.michaelfranzmann.com/vatslav-1/
________. (2549). ละครวิทยุเรื่อง “ปลวก” จากบทพระราชนิพนธ์แปลในสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ชุด “ความฝัน” เรื่องที่ห้า (จากบทละคร วิทยุ ชุด Träume ของ Günter Eich) แสดงและกำกับการแสดง เผยแพร่ เป็นแถบบันทึกเสียง 2549.
________. (2548-ปัจจุบัน). การแสดง “สยามนิรมิต” กำกับการแสดง โรงละครรัชดาแกรนด์เธียเตอร์. https://www.siamniramit.com/
________. (2548). ละครเรื่อง “มหัศจรรย์ผจญภัยเจ้าชายหอย” สกว./คณะอักษรศาสตร์ กำกับการแสดงและสร้างบท เอ็มเธียเตอร์ (อาคารมนูญผล).
________. (2546). ละครเรื่อง“นิทราชาคริต” กำกับการแสดงและสร้างบทจากพระราชนิพนธ์ ลิลิตในพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) หอประชุมใหญ่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
________. (2545). ละครเรื่อง “วัยไฟ” (จาก Spring’s Awakening ของ Frank Wedekind) แปล-แปลงบทและกำกับการแสดง โรงละครอักษรศาสตร์.
________. (2544). “Turandot : The Club Act” กำกับการแสดงจากบทของ William Tribeca Performing Arts Center, NYC.
________. (2543). ละครเรื่อง “Rashomon” (บทละครโดย Faye and Michael Kanin จากบทภาพยนตร์ของอากิระ คุโรซาวะ และเรื่องสั้นของเรียวโนะสุเกะ อะกุตะงะวะ) กำกับการแสดง. New Workshop Theater, Brooklyn, NYC.
________. (2540). ละครเรื่อง “ศึกอสรพิษ” (จาก The Way of the World ของ William Congreve) แปล-แปลงบทและ กำกับการแสดง โรงละครอักษรศาสตร์.
________. (2538). ละครเรื่อง “ไพรพันลึก” (จาก Into the Woods ของ Stephen Sondheim และ James Lapine) แปล-แปลงบทและกำกับการแสดง โรงละครอักษรศาสตร์.
ดร. สาวิตา ดิถียนต์. (2543). เขียนบทละครโทรทัศน์กับบริษัท Click Television เรื่อง น้ำพุ
________. (2546). ผู้กำกับเวที (stage manager) ละครเวทีเรื่อง คู่กรรม เดอะมิวสิคเคิล จัดแสดงที่โรงละครกรุงเทพ (ปัจจุบันคือ M theatre)
________. (2548.) เขียนบทและอำนวยการแสดงละครเวทีเรื่อง ทางเทวดา ดัดแปลงจากนวนิยายเรื่องทางเทวดา ของ แก้วเก้า จัดแสดงที่โรงละครคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
________. (2550). เขียนบทและกำกับการแสดงละครเพลงสุนทราภรณ์เรื่อง ร้อยใจถวายสัจจา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการแสดงคอนเสิร์ตวงดนตรีสุนทราภรณ์ จัดแสดงที่หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
________. (2558). เขียนบทและกำกับการแสดงละครเพลงสุนทราภรณ์เรื่อง ท้าวแสนปม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการแสดงคอนเสิร์ต ราชนารีสดุดดี ของวงดนตรีสุนทราภรณ์ จัดแสดงที่หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
________. (2557- 2559). เขียนบทละครโทรทัศน์ในนามปากกา สาวิตา ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7
ปิยะวัฒน์ ธรรมกุลางกูร. การอำนวยการแสดง (Theatre Producing). (2561). ‘Level With Me’, CU-TNUA Collabolative Performance.
________. (2560). ผู้อำนวยการแสดง. ละครเวที เรื่อง “หลายชีวิต”
________. (2559). ผู้อำนวยการแสดง. ละครเวที เรื่อง “ชีวิต…ดี๊ดี”
________. (2558) ผู้อำนวยการแสดง. ละครเวที เรื่อง “Arts”
________. (2558). ผู้อำนวยการแสดง. ละครเวทีสำหรับเด็ก เรื่อง “แต่บแตบ ตะแล้บ แตบแตบ”
________. (2557). ผู้อำนวยการแสดง. ละครเวที เรื่อง “เลิก”
________. (2557). ผู้อำนวยการแสดง. ละครเวที เรื่อง “นางร้ายในลงกา”
________. (2556). ผู้อำนวยการแสดง. ละครเวที เรื่อง “อิสตรีเอเชีย”
________. (2555). ผู้อำนวยการแสดง. ละครเพลง เรื่อง “สยามมิสฉัน เดอะมิวสิเคิล”
________. (2561). ผู้อำนวยการแสดง และผู้จัดการคณะละครสัญจร. ‘Level With Me’, CU-TNUA Collabolative Performance. จัดแสดงที่ประเทศไทย, อินโดนีเซีย และไต้หวัน
________. (2560). ผู้อำนวยการแสดง และผู้จัดการคณะละครสัญจร. “บ้านนี้ไม่มีคนอยู่”. จัดแสดงที่ประเทศจีน และประเทศไทย.
________. (2557). ผู้อำนวยการแสดง และผู้จัดการคณะละครสัญจร. “S.H.I.T” (2557) จัดแสดงที่ประเทศจีน
________. (2556). ผู้อำนวยการแสดง และผู้จัดการคณะละครสัญจร. “นางร้ายในลงกา”. จัดแสดงที่ประเทศเวียดนาม.
เปรมรินทร์ มิลินทสูต. (2561). ผู้อำนวยการแสดง ละครประจำภาคต้น ปีการศึกษา 2561 เรื่อง “วิวาห์หรือวิวาท และ นายหมีปากร้ายกับคุณนายปากแข็ง (The Proposal & The Bear)” จัดแสดง ณ ศูนย์ศิลปการละครสดใส พันธุมโกมล คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
________. (2561). ผู้อำนวยการแสดง ละครประจำภาคปลาย ปีการศึกษา 2560 เรื่อง “เวนิสวาณิช (The Merchant of Venice)” จัดแสดง ณ ศูนย์ศิลปการละครสดใส พันธุมโกมล คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย